ปลาหมอคางดำ ไม่ใช่สัตว์ประหลาด อย่ามองข้ามลักลอบนำเข้า

Advertisement ปลาหมอคางดำ สร้างความกังวลถึงผลกระทบต่อพันธุ์สัตว์น้ำท้องถิ่น เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ชาวประมง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ จากนั้นจึงมีความพยายามสืบหาแหล่งต้นตอ หาผู้รับผิดชอบ โดยตั้งข้อสังเกตไปที่บริษัทเอกชนที่มีรายงานการขออนุญาตนำเข้าอย่างถูกต้อง เพียงรายเดียว (ซึ่งทางบริษัทระบุว่าได้ทำลายซากลูกปลา และมีการส่งตัวอย่างลูกปลาดองในฟอร์มาลีนให้กรมประมงตามขั้นตอนไปแล้ว) จนอาจมองข้ามความเป็นไปได้อื่น ๆ ไป Advertisement นอกจากนี้ ยังมีการปั่นกระแสปลาหมอคางดำ ผ่านการนำเสนอด้วยคำว่า “เอเลี่ยนสปีชีส์” จนกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนราวกับว่าเป็นสัตว์ประหลาดที่เข้ามาทำลายแหล่งน้ำ ทั้งๆ ที่ ปลาหมอคางดำ คือ ปลาชนิดหนึ่งที่รับประทานได้ไม่แตกต่างจากปลาอื่น ๆ เมื่อเพิ่มจำนวนก็จัดการได้ด้วยการจับขึ้นมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหารต่าง ๆ เหมือนกับที่ผ่านมาประเทศไทยได้เผชิญกับสัตว์ต่างถิ่นรุกรานทั้ง ตั๊กแตนปาทังก้า และหอยเชอรี่ ที่ทุกวันนี้กลายเป็นอาหารที่มีความต้องการสูงจนถึงกับต้องเพาะพันธุ์กันแล้ว “ปลาหมอคางดำ” กลายเป็นประเด็นที่สังคมต้องการหาต้นตอที่ทำให้ปลาหลุดสู่แหล่งน้ำ โดยมี NGO ที่พุ่งเป้าไปที่การนำเข้าปลาหมอคางดำ เพื่อวิจัยของบริษัทเอกชนเพียงรายเดียว ผ่านการนำเสนอข้อมูลและภาพต่าง ๆ ผ่านเวทีสาธารณะและโซเซียลมีเดีย โดยอ้างอิงว่าได้ข้อมูลเหล่านั้นมาจากอดีตพนักงานที่ทำงานในฟาร์มวิจัยแหล่งนั้น กระทั่งบริษัทต้องออกมาแถลงข่าว ชี้ให้เห็นถึงการบิดเบือนข้อเท็จจริง และได้รวบรวมข้อมูลเพื่อเตรียมฟ้องร้องดำเนินคดีต่อไป ขณะที่ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อม สภาทนายความ และคณะทำงานสำนักงานคดีปกครอง เตรียมยื่นฟ้องแพ่งต่อบริษัท และฟ้องคดีปกครองต่อกรมประมง จากกรณีปลาหมอคางดำ โดยใช้หลักฐาน ข้อมูลงานวิจัยสองฉบับของกรมประมง […]

“ชิปปิ้ง”กรอกข้อมูลผิด 4 ปี ส่งออกหมอคางดำ กลายเป็น “ปลาหมอเทศ”

จากข้อมูลกรมประมงพบว่า บริษัทที่ส่งออกปลาหมอคางดำมากเรียงตามลำดับจำนวนส่งออกมากไปน้อย ดังนี้ หจก.ฉาง ซิน เอ็นเตอร์ไพร์ ส่งออก 162,000 ตัว, หจก. ซีฟู้ดส์ อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต 30,000 ตัว, บจก.นิว วาไรตี้ 29,000 ตัว, บจก. พี.แอนด์.พี อควาเรี่ยม เวิลด์ เทรดดิ้ง 3,638 ตัว, บจก.ไทย เฉียน หวู่ 2,900 ตัว ส่วนอีก 6 บริษัท ประกอบด้วย บจก. แอดวานซ์ อควาติก บจก.เอเชีย อะควาติคส์ บจก.หมีขาว หจก. วี. อควาเรียม บจก.สยามออร์นา เมนทอล ฟิช และ หจก.สมิตรา อแควเรี่ยม มีการส่งออกจำนวน 100-900 ตัว อย่างไรก็ดี อธิบดีกรมประมง บัญชา […]

error: