เปิดอัตราใหม่ เงินประจำตำแหน่งข้าราชการ มีผลบังคับใช้ 30 มี.ค. 2567

Advertisement สรุปเงินประจำตำแหน่งข้าราชการพลเรือน ตามประกาศ กฎ ก.พ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินประจำตำแหน่ง 2567 ซึ่งลงนามโดย นายปานปรีย์ พหิทธานุกร รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะ ประธาน ก.พ. ที่จะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 30 มีนาคม 2567 Advertisement สาระสำคัญของกฎ ก.พ. ฉบับนี้ คือ การกำหนดอัตราเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญ ในสายงานต่างๆ เรียงจากมากไปหาน้อย ดังนี้ 1. ตำแหน่งประเภทบริหาร ระดับสูง ประกอบด้วย หัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกระทรวง , หัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรม ซึ่งมีฐานะเทียบเท่าปลัดกระทรวงตามที่ ก.พ.กำหนด , ตำแหน่งประเภทบริหาร ระดับสูง ตามที่ ก.พ. กำหนดให้ได้รับเงินประจำตำแหน่งในอัตราเดียวกัน ได้รับเงินประจำตำแหน่งในอัตรา 21,000 บาท 2. ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ ที่มีประสบการณ์ ทักษะ และสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด ได้รับเงินประจำตำแหน่งในอัตรา 15,600 […]

รู้ไว้ใช่ว่า! ข้าราชการท้องถิ่น ระดับชำนาญการ ใช่ว่าจะได้รับเงินประจำตำแหน่ง3,500บาททุกคน! ต้องดูวิชาชีพด้วย!

  ในระบบแท่งของท้องถิ่นนั้น ได้กำหนดให้ข้าราชการ สายวิชาการ ระดับชำนาญการ ให้ได้รับเงินประจำตำแหน่งในอัตราเดือนละ 3,500 บาท แต่ใช่ว่าจะได้รับในทุกตำแหน่ง ก กลางได้กำหนดตำแหน่งต่างๆออกตามประเภทวิชาชีพไว้ ให้มีคุณสมบัติที่จะมีสิทธิได้รับเงินประจำตำแหน่ง ดังนี้ ข้าราชการท้องถิ่นที่จะได้รับเงินประจำตำแหน่ง คือ ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ (วช.) มีดังต่อไปนี้ วิชาชีพเฉพาะกายภาพบำบัด วิชาชีพเฉพาะการทันตแพทย์ วิชาชีพเฉพาะการพยาบาล วิชาชีพเฉพาะการแพทย์ วิชาชีพเฉพาะการสัตวแพทย์ วิชาชีพเฉพาะเภสัชกรรม วิชาชีพเฉพาะวิศวกรรมเครื่องกล วิชาชีพเฉพาะวิศวกรรมไฟฟ้า วิชาชีพเฉพาะวิศวกรรมโยธา วิชาชีพเฉพาะสถาปัตยกรรม วิชาชีพเฉพาะรังสีการแพทย์ วิชาชีพเฉพาะวิศวกรรมชลประทาน วิชาชีพเฉพาะวิทยาการคอมพิวเตอร์ วิชาชีพเฉพาะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชาชีพเฉพาะนิติการ จะเห็นได้ชัดเจนว่า "นักทรัพยากรบุคคลฯ – นักพัฒฯ – นักวิชาการศึกษา – นักวิเคราะห์ฯ เป็นต้น" ถึงแม้จะอยู่ในระดับชำนาญการ ก็ไม่มีสิทธิได้รับเงินประจำแหน่ง ตำแหน่งที่จะได้รับเงินประจำตำแหน่ง ชัดเจนเลย คือ – นายแพทย์ – ทันตแพทย์ – พยาบาล – เภสัชกร […]

error: