วันหยุดกรกฎาคม 2567 วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา มีวันหยุดยาวกี่วัน

Advertisement “วันหยุดเดือนกรกฎาคม 2567” ก้าวเข้าสู่ช่วงครึ่งปีหลังของปี 2567 แล้ว สำหรับคนที่วางแผนจะเดินทางไปเที่ยว พักผ่อนกับครอบครัว เพื่อนฝูง หลังจากทำงานหนักมาอย่างต่อเนื่องครึ่งปี สำหรับเดือนกรกฎาคม 2567 มีวันหยุดราชการ วันหยุดชดเชย วันหยุดธนาคาร วันสำคัญ อะไรบ้าง ไปดูพร้อมกันได้เลย Advertisement Advertisement วันหยุดเดือนกรกฎาคม 2567 วันเสาร์ 20 กรกฎาคม 2567 วันอาสาฬหบูชา วันอาทิตย์ 21 กรกฎาคม 2567 วันเข้าพรรษา วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม 2567 วันหยุดชดเชยวันเข้าพรรษา วันอาทิตย์ 28 กรกฎาคม 2567 วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 วันจันทร์ 29 กรกฎาคม 2567 วันหยุดชดเชยวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 สำหรับใครที่มีวันลาเหลือๆ อยากหยุดไปเที่ยวแบบยาวๆ สามารถใช้วันลาพักร้อน 4 […]

ราชกิจจาฯ ประกาศ ธปท. เพิ่มศุกร์ 12 เม.ย. เป็นวันหยุดธนาคารกรณีพิเศษ

29 กุมภาพันธ์ 2567 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สนส. 4/2567 เรื่อง การกำหนดวันหยุดทำการของสถาบันการเงินและสถาบันการเงินเฉพาะกิจเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ ลงนามโดย นายเศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ประกาศ ณ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567 มีเนื้อหาดังนี้ 1. เหตุผลในการออกประกาศ ตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2567 กำหนดให้เพิ่มวันหยุดราชการเป็นกรณีพิเศษ เพื่อให้เกิดการกระจายตัวและความคล่องตัวในการเดินทางของประชาชนในช่วงสงกรานต์ รวมทั้งเพื่อกระตุ้นภาคการท่องเที่ยว ภาคบริการ และเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศนั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาแล้วเห็นสมควรกำหนดวันหยุดทำการของสถาบันการเงินและสถาบันการเงินเฉพาะกิจเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลในครั้งนี้ 2. อำนาจตามกฎหมาย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดวันหยุดทำการของสถาบันการเงินเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ อาศัยอำนาจตามมาตรา 120/1 แห่งพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ธนาคารแห่งประเทศไทยโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กำหนดวันหยุดทำการของสถาบันการเงินเฉพาะกิจเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ 3. ขอบเขตการบังคับใช้ ประกาศฉบับนี้ใช้บังคับกับสถาบันการเงินและสถาบันการเงินเฉพาะกิจตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงินทุกแห่ง […]

error: